Search Results for – "would could should"

would, could, should, etc ตอนที่ 1 การแนะนำ หรือ ชี้แนะ

สมัยเด็ก ๆ เคยเรียน (ไว้ทำข้อสอบ) ว่า  would, could, should เป็นอดีตกาลของ will, can, shall ใช้เวลาเปลี่ยนจากประโยคคำพูด (direct speech) เป็นประโยคเล่าเรื่อง (Indirect speech) เช่น He said he would go school.  ก็ใช้ได้นะครับ  แต่ระวังอย่าไปจำตายตัวกลายเป็น would เป็นกริยาช่องสองของ will  หรือใช้  would ได้แต่ในการอธิบายอดีตกาลเท่านั้น อย่างนั้นก็จะไม่ถูก  มีวิธีใช้ได้อีกหลายสถานการณ์  ตอนนี้ผมก็ขอแนะนำ การใช้คำพวกนี้เวลาเราต้องการจะพูดเชิงชี้แนะ หรือ สั่งให้คนฟังอื่นทำอะไร

ถ้าสมมติเราจะพูดแนะนำ หรือสอนใครว่า “คุณควรทำอย่างนี้” จะพูดได้อย่างไรบ้างครับ นึกดูแล้วก็พูดได้หลายแบบ ของเรียงลำดับจากอย่างแข็งที่สุด ไปถึงอ่อนที่สุด ตามความรู้สึกนะครับ

  • You must do it this way. 

Would you … ?

Would เวลามาใช้ในขอร้องคนอื่น ก็ทำให้ฟังดูเพราะครับ Would you mind… เป็นสำนวนที่สุภาพชนชอบใช้กัน แปลตามตัวก็ คุณจะรังเกียจไหมที่… ฟังแล้วไพเราะ เหมือนเป็นการขอแบบเกรงใจ เช่น

  • Would you mind doing that? ช่วยทำอันนั้นให้หน่อยได้ไหม
  • Would you mind coming with me? มากับฉันได้ไหม
  • Would you mind if I sit here?

Arnold Schwarzenegger Message To Russia ภาษาไทย

พูดอาร์โนลด์พูดเกี่ยวกับเหตุการณ์ในยูเครนให้คนรัสเซียฟัง พูดได้กินใจดีครับ ผมขอลองแปลเป็นไทยให้อ่าน และฝึกฟังกัน

Hello everybody, and thank you for sharing your time with me. I’m sending this message through various different channels to reach my dear Russian friends,

กำลังใจ

คำว่า กำลังใจ ภาษาอังกฤษ ก็มีหลายคำครับ แต่ความหมายและวิธีใช้ไม่ค่อยตรงกับภาษาไทยเป๊ะ ต้องหัดให้เข้าใจความหมาย และก็ใช้ให้ถูดที่ เวลาจะบอกว่าให้กำลังใจใครในการทำอะไร ก็ใช้ได้ว่า encourage someone to do something ออกเสียง-เอน-[เค้อ]-ริจ- เน้นที่พยางค์ที่สองนะครับ รากศัพท์ก็มาจากคำว่า courage ความกล้า encourage ก็คือ ทำให้เกิดความกล้า ซึ่งจะแปลว่า “ให้กำลังใจ”

13. รูปประโยคสมมติ หรือจินตนาการ

ผมได้พูดถึง would ไปในบทที่ 4 ว่า สามารถคิดได้ว่าเป็นจิตนาการของ will  บทนี้เรามาขยายความกันต่อว่า รูปประโยคอดีตกาล สามารถเอามาอธิบายจิตนาการ หรือเรื่องสมมติที่ตรงข้ามกับความเป็นจริงได้ รูปประโยคแบบนี้ในภาษาอังกฤษเรียกว่า Subjunctive mood  อันนี้ก็เป็นเรื่องที่น่าสับสนสำหรับคนไทย เพราะเราไม่มีไวยกรณ์เฉพาะเจาะจงแบบนี้ในภาษาไทย

การสมมติที่ตรงข้ามกับความเป็นจริง

เราเห็น if มาแล้วในบทก่อน ซึ่งใช้เป็นคำสันธานเชื่อมประโยคย่อยสองประโยคเข้าด้วยกัน เช่น

  • If you come,

18. การออกเสียงในประโยค

มาถึงการรวบยอดของการออกเสียงนะครับ เป็นการรวมความรู้พื้นฐานในบทก่อน ๆ มาประกอบในการออกเสียงเป็นวลี หรือทั้งประโยค ซึ่งการออกเสียงทั้งประโยคนั้นก็ไม่เพียงแต่ใช้พื้นฐานของการออกเสียงเป็นคำ ๆ กับการเชื่อมเสียงเท่านั้น ยังมีเกร็ดที่สำคัญที่ผมจะได้เล่าให้ฟังในบทนี้

การเน้นคำในประโยค หรือ วลี

ในภาษาอังกฤษ นอกจากจะมีการออกเสียงเน้นพยางค์ในคำแล้ว  เมื่อคำเหล่านั้นมาอยู่ในประโยคในการพูด ก็ยังมีการเน้นคำแตกต่างกันภายในประโยคอีกด้วย  การเน้นพยางค์นั้นไม่ค่อยมีหลักการอะไร แต่การเน้นคำในประโยคนั้น มีหลักสำคัญก็คือ เพื่อการสื่อสาระให้กับผู้ฟัง กล่าวคือ คำที่เน้นก็มักจะมีสาระมากกว่า คำอื่น ๆ ตัวอย่างเช่น

  • There is a cat in the room.  

5. เสียง R และ L

ถ้าจะให้เลือกพระเอก และนางเอกของรายการออกเสียงภาษาอังกฤษนี่ เห็นจะหนีไม่พ้นตัว R กับ L  เนื่องจากว่า 1) พบเห็นบ่อยมาก  2) คนไทยพูดผิดเยอะ  และ 3) เป็นเสียงที่ออกเข้มข้นมากเมื่อเทียบกับเสียงอื่น ๆ ไม่ว่าตัว R หรือ L จะอยู่ที่ต้นคำ กลางคำ หรือท้ายคำ คือ มันมีอิทธิพลต่อเสียงของคำนั้น ๆ มาก ว่างั้นเถอะ   ดังนั้น ผมถึงเลือกตัว R กับ L เป็นเรื่องแรกที่ต้องบอกกล่าวกัน  ผู้ที่ได้ออกเสียงผิดมาโดยตลอด ถ้าทำสองตัวนี้ให้ถูกได้  ภาษาอังกฤษคุณจะชัดขึ้นหลายขุม  มันเหมือนเป็นการเดินก้าวแรกได้แบบเป็นการก้าวกระโดดเลยนะครับ

 

Copyright © 2013-2024 betterenglishforthai.net