การเน้นพยางค์เป็นเรื่องง่าย ๆ ที่คนไทยทำกันได้ แต่คำหลายคำเราออกเสียงผิด ๆ ตาม ๆ กันมา เน้นผิดพยางค์บ้าง เน้นทุกพยางค์บ้าง แม้ได้ยินแบบที่ถูก ฟังแล้วเข้าใจความหมาย ผมก็พบว่าบางคนไม่สามารถนำมาปรั
ตัวอย่างคำพวกนี้ ส่วนใหญ่เป็นคำกริยา เป็นคำที่คนไทยมักออกเสียงผิด โดยไปเน้นพยางค์แรก จริง ๆ แล้วต้องเน้นพยางค์ที่สอง พยางค์แรกนั้นเบามาก
• supply -สับ-[พลาย]- ไม่ได้เน้นพยางค์แรกเหมือน supper -[สั๊บ]-เปอระ-
• support
• suppose
• suggest
• apply -แอพ-[พลาย]- ไม่ได้เน้นพยางค์แรกเหมือน apple -[แอ๊พ]-เปิล-
• approach
• approve
• appeal
• disturb -ดิส-[เทอรบ]- ไม่ได้เน้นพยางค์แรกเหมือน district -[ดีส]-ตริคท-
• discard
• disable
• expect -เอ็กส-[เปค]- ไม่ได้เน้นพยางค์แรกเหมือน exit -[เอ๊ก]-สิท-
• exam
• exclude
• affect
• afford
คำบางคำเป็นนาม (n) เน้นพยางค์แรก แต่เป็นคำกริยา (v) เน้นพยางค์ที่สอง เช่น
• extract v. -เอ็กส-[แตรค]- n. -[เอ๊กส]-แตรค-
• record v. -ริ-[คอรค]- n. -[เร๊ค]-เคิรด-
คำบางคำทั้งนาม ทั้งกริยาเน้นพยางค์ที่สองทั้งค
• exam v. n. -เอ็ก-[แซม]-
• affect v. -เอะ-[เฟค]- effect n. -อิ-[เฟค]-
ส่วน exit -[เอ๊ก]-สิท- นั้นทั้งคำนาม และกริยาก็กลายเป็นเน้นพยางค์แร
ถามว่ามีกฎไหม เฮ้อ ตอบว่าไม่มีจะปลอดภัยกว่านะครับ
วิธีที่ผมแนะนำ คือ 1) รู้ตัวก่อนว่าเราพูดผิดมา 2) ฟังเหมือนกับการฟังเพลง ฟังบ่อยเข้า มันเริ่มติดหู แล้วก็จะร้องได้เอง